
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานขององค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ
1.1 ข้อมูลสภาพทั่วไป
สภาตำบลป่าก่อดำได้รับการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ โดยประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องการจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบล ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่มที่ 113 ตอนพิเศษ 52 ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2539
ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ ตั้งอยู่เลขที่ 177 หมู่ที่ 1 บ้านโป่งมอญ บนถนน ชร 1046 ถนนพหลโยธิน - โป่งมอญ ตำบลป่าก่อดำ อำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย อยู่ห่างจากที่วาการอำเภอแม่ลาว ประมาณ 1.0 กิโลเมตร และห่างจากตัวเมืองเชียงราย ประมาณ 25 กิโลเมตร บริเวณ พิกัด เอ็นบี 737912 เหนือ, 823836 ใต้, 847844 ตะวันออก และ 721862 ตะวันตก
1.2 ลักษณะภูมิประเทศ
ตำบลป่าก่อดำ มีลักษณะพื้นที่เป็นที่ราบสูง และเป็นภูเขาบางส่วน มีพื้นที่ตอนกลางตำบลเป็นที่ราบ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่ประชาชนตั้งบ้านเรือนอยู่อาศัยและใช้ทำการเกษตร มีแม่น้ำลาวและแม่น้ำอื่นหลายสายไหลผ่านตลอดทั้งตำบลมีพื้นที่ป่าไม่และภูเขาอยู่ด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตกของตำบล และมีถนนตัดผ่านทุกหมู่บ้าน มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ใกล้เคียง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดกับตำบลแม่กรณ์ อำเภอเมืองเชียงราย , และตำบลบัวสลี อำเภอแม่ลาว
ทิศใต้ ติดกับตำบลจอมหมอกแก้ว อำเภอแม่ลาว
ทิศตะวันออก ติดกับตำบลป่าอ้อดอนชัย อำเภอเมืองเชียงราย
ทิศตะวันตก ติดกับตำบลโป่งแพร่ อำเภอแม่ลาว
ตำบลป่าก่อดำ มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 34.26 ตารางกิโลเมตร
1.3 ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศแบ่งออกเป็น 3 ฤดู
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่ เดือนตุลาคม ถึงเดือนมกราคม
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่ เดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนพฤษภาคม
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่ เดือนมิถุนายน ถึงเดือนกันยายน
1.4 ลักษณะของดิน
ลักษณะของดินในพื้นที่เป็นดินร่วน ดินเหนียว ดินร่วนปนทราย และดินลูกรัง พื้นที่ราบเหมาะแก่การเพาะปลูกข้าว
1.5 ลักษณะของแหล่งน้ำ
เป็นแหล่งน้ำธรรมชาติและแหล่งน้ำที่สร้างขึ้นเอง ห้วย หนอง คลอง บึง สระน้ำ ฝาย และน้ำฝน
แหล่งน้ำธรรมชาติ
- แหล่งน้ำธรรมชาติในพื้นที่ มีลำน้ำ ลำห้วย ลำเหมือง และหนองน้ำ ได้แก่ ลำน้ำลาว ลำน้ำแม่มอญ ลำน้ำแม่ผง ลำน้ำแม่ขาว ลำน้ำร่องกาแกด ลำน้ำร่องปิน ลำน้ำท่อน้อย ลำห้วยตีนดง ลำเหมืองร่องลึก ลำเหมืองกลาง ลำเหมืองป่าซาง ลำเหมืองก่อ ลำเหมืองแพะ ลำเหมืองปู่โด้ง ลำเหมืองปู่หมอ ลำเหมืองต้นดอก ลำเหมืองต้นตอง ลำเหมืองหนองมน ลำเหมืองร่องห้าง ลำเหมืองบ้านท่า หนองกวาง หนองปึ๋ง หนองกากอก หนองก้าง หนองบัวน้อย และหนองผักหนาม
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น
- ฝาย 38 แห่ง
- บ่อโยก 15 แห่ง
- ประปาหมู่บ้าน 16 แห่ง
- บ่อน้ำตื้น 598 แห่ง
- บ่อบาดาล 22 แห่ง
1.6 ลักษณะของไม้/ป่าไม้ (ที่มางานส่งเสริมการเกษตร)
- ด้านการเมือง/การปกครอง
2.1 เขตปกครอง แบ่งออกเป็น 7 หมู่บ้าน
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
ชื่อผู้ใหญ่บ้าน/กำนัน |
ตำแหน่ง |
1 |
บ้านโป่งมอญ |
นายอุทิตย์ ศรีจุมปา |
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 |
2 |
บ้านหนองบัว |
นางสมหมาย มณียศ |
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 |
3 |
บ้านต้นม่วง |
นายนิรันดร์ ทิพย์สุภา |
กำนันตำบลป่าก่อดำ |
4 |
บ้านท่าขี้เหล็ก |
นายวิรัตน์ สมสวัสดิ์ |
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 4 |
5 |
บ้านแม่ผง |
นายธนวัฒน์ โกเสนตอ |
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 |
6 |
บ้านสันหนองล้อม |
นางวิไล กาบแก้ว |
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 |
11 |
บ้านสันหนองบัว |
นายสมพงษ์ คำจ้อย |
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 11 |
องค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ เป็นการจัดการรูปแบบการปกครองท้องถิ่นแบบทั่วไป มีฐานะเป็นนิติบุคคล และเป็น ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นรูปแบบหนึ่ง ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติมจนถึงฉบับที่ 6 พ.ศ.2552 โดยยกฐานะจากสภาตำบลที่มีรายได้โดยไม่รวมเงินอุดหนุนในปีงบประมาณที่ล่วงมาติดต่อกันสามปีเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าปีละหนึ่งแสนห้าหมื่นบาท
องค์การบริหารส่วนตำบล ประกอบด้วย สภาองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ และนายกองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ
- สภาองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ ประกอบด้วยสมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวนหมู่บ้านละสองคน ซึ่งเลือกตั้งขึ้นโดยราษฎรผู้มีสิทธิเลือกตั้งในแต่ละหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ
- องค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ มีนายกองค์การบริหารส่วนตำบล หนึ่งคน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งผู้บริหารท้องถิ่นโดยตรง/การเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนตามกฎหมายว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
รายชื่อผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ
ชื่อ - สกุล | ตำแหน่ง | เบอร์โทรศัพท์ |
นายสุริยัน ตื้อยศ | นายกองค์การบริหารส่วนตำบล | 095-4957730 |
นายชยพล ไพยราช | รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล | 084-6103175 |
นางพิมพรรณ์ แก้วศรีนวล | รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบล | 081-9528865 |
นายสิทธิชัย ใจกลม | เลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำบล | 080-1345664 |
รายชื่อสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ
ชื่อ - สกุล | ตำแหน่ง | เบอร์โทรศัพท์ |
นายสานิต ศรีจุมปา | ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล | 084-4813756 |
นางพรศรี คำฟู | รองประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล | 089-8381626 |
นางสาวนัฐกานต์ เมืองเสริม | สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 1 | 098-5363569 |
นายอภิเชษฐ์ แสงคำมา | สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 3 | 085-0372233 |
นายไสว เครือวงศ์ | สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 4 | 086-1818826 |
นายบุญโรจน์ หน่อแก้ว | สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 5 | 086-9134021 |
นางพิมทอง สุขเกษม | สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล หมู่ที่ 6 | 086-1816466 |
- ประชากร
3.1 ข้อมูลเกี่ยวกับจำนวนประชากร : หน่วยเป็นคน
ประชากรทั้งสิ้น 3,091 คน แยกเป็นชาย 1,495 คน หญิง 1,596 คน (ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2565)
หมู่บ้าน |
จำนวนครัวเรือน |
ชาย |
หญิง |
รวม |
หมู่ที่ 0 ป่าก่อดำ |
1 |
45 |
23 |
68 |
หมู่ที่ 1 บ้านโป่งมอญ |
259 |
276 |
286 |
562 |
หมู่ที่ 2 บ้านหนองบัว |
177 |
182 |
210 |
392 |
หมู่ที่ 3 บ้านต้นม่วง |
122 |
148 |
135 |
283 |
หมู่ที่ 4 บ้านท่าขี้เหล็ก |
148 |
130 |
169 |
299 |
หมู่ที่ 5 บ้านแม่ผง |
344 |
387 |
392 |
779 |
หมู่ที่ 6 บ้านสันหนองล้อม |
173 |
187 |
236 |
423 |
หมู่ที่ 11 บ้านสันหนองบัว |
114 |
140 |
145 |
285 |
รวม |
1,338 |
1,495 |
1,596 |
3,091 |
ข้อมูลจากสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง
4.สภาพทางสังคม
4.1 การศึกษา
- โรงเรียนประถมศึกษา 1 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนบ้านโป่งมอญ
- ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ
4.2 สาธารณสุข
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโป่งมอญ 1 แห่ง
- ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน 7 แห่ง
4.3 อาชญากรรม
ด้วยสภาพเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ อยู่ใกล้กับสถานีตำรวจภูธรแม่ลาว ทำให้ในพื้นที่ไม่พบเหตุอาชญากรรมเกิดขึ้น ส่วนมากครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน อีกทั้งแต่ละหมู่บ้าน มีสมาชิก อปพร. และมีผู้นำที่ช่วยกันสอดส่งดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลสามารถทำได้ตามอำนาจหน้าที่ เช่น การรณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากากรอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี และการดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการจัดกิจกรรม
4.4 ยาเสพติด
ในการเฝ้าระวังปัญหายาเสพติดในนพื้นที่่ตำบลป่าก่อดำได้รับความร่วมมือกับทางผู้นำประชาชน หน่วยงานขององค์การบริหารส่วนตำบลที่ช่วยสอดส่องดูแลอยู่เป็นประจำ การแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลสามารถทำได้ตามอำนาจหน้าที่ เช่น การรณรงค์ การประชาสัมพันธ์ การแจ้งเบาะแส การฝึกอบรมให้ความรู้ ถ้านอกเหนือจากอำนาจหน้าที่ ก็เป็นเรื่องของอำเภอหรือตำรวจแล้วแต่กรณี และการดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการจัดกิจกรรม
4.5 การสังคมสงเคราะห์
องค์การบริหารส่วนตำบลได้ดำเนินการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ป่วยเอดส์รับลงทะเบียนและประสานโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ให้ความช่วยเหลือประชาชนผู้ได้รับความเดือดร้อนในด้านต่าง ๆ โดยได้จัดตั้งศูนย์เพื่อดำเนินการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
ศูนย์บริการคนพิการองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ
ศูนย์ช่วยเหลือประชาชนองค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ
5. ระบบบริการพื้นฐาน
5.1 การคมนาคมขนส่ง
มีถนนลาดยางแอลฟัลท์ ถนนคอนกรีตเสริมเหล็กและถนนลูกรัง ดังนี้
หมู่ที่ |
จำนวนสายทางรวม (สาย) |
ถนนลาดยาง แอลฟัลท์ (สาย)
|
ถนนคอนกรีต เสริมเหล็ก (สาย) |
ถนนลูกรัง (สาย) |
ทางลำลอง (สาย) |
1 |
19 |
3 |
15 |
1 |
- |
2 |
13 |
1 |
11 |
1 |
- |
3 |
15 |
2 |
12 |
1 |
- |
4 |
16 |
1 |
14 |
1 |
- |
5 |
31 |
1 |
25 |
5 |
- |
6 |
18 |
1 |
16 |
1 |
- |
11 |
13 |
2 |
9 |
2 |
- |
รวม |
125 |
11 |
102 |
12 |
- |
ถนนเชื่อมระหว่างตำบล |
4 |
- |
2 |
- |
|
ถนนในการรับผิดชอบของหน่วยงานอื่น |
2 |
- |
4 |
- |
5.2 การไฟฟ้า
มีระบบไฟฟ้าครบทุกหมู่บ้าน จำนวน 7 หมู่บ้าน
5.3 การประปา
มีระบบประปาหมู่บ้าน มีจำนวน 16 แห่ง
5.4 โทรศัพท์
ประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เป็นส่วนใหญ่
5.5 ไปรษณีย์หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์
มีการใช้บริหารที่ทำการไปรษณีย์อำเภอแม่ลาว ติดถนนทางหลวงไปทางทิศใต้ระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร และบริษัทขนส่งเอกชนอื่น ๆ ในพื้นที่ใกล้เคียง
6. ระบบเศรษฐกิจ
6.1 การเกษตร
หมู่บ้าน | (นา/ไร่) | ราย |
ข้าวเจ้า (ไร่) |
ข้าวเหนียว (ไร่) |
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ (ราย/ไร่) |
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (ราย/ไร่) |
ปศุสัตว์ (ราย/ไร่) |
ยางพารา (ราย/ไร่) |
หมู่ที่ 1 บ้านโป่งมอญ | 913 | 117 | 31 | 882 | - | - | - | - |
หมู่ที่ 2 บ้านหนองบัว | 903 | 115 | 43 | 860 | - | - | - | - |
หมู่ที่ 3 ต้นม่วง | 586 | 60 | 9 | 577 | - | - | - | - |
หมู่ที่ 4 บ้านท่าขี้เหล็ก | 331 | 40 | 1 | 330 | - | - | - | - |
หมู่ที่ 5 บ้านแม่ผง | 883 | 124 | 29 | 854 | - | - | - | - |
หมู่ที่ 6 บ้านสันหนองล้อม | 468 | 62 | 11 | 457 | - | - | 1/3.2 | - |
หมู่ที่ 11 บ้านสันหนองบัว | 568 | 63 | 53 | 515 | 10/100 | 1/2 | - | 1/2.5 |
รวม | 4652 | 581 | 177 | 4475 | 10/100 | 1/2 | 1/3.2 | 1/2.5 |
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำทางการเกษตร
แหล่งน้ำทางการเกษตร |
ความเพียงพอของปริมาณน้ำฝนที่ใช้ในการทำการเกษตร |
ปริมาณน้ำฝนที่ตกโดยเฉลี่ยในปีที่ผ่านมา (มิลลิเมตร) |
||||
|
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
|
|||
1) ปริมาณน้ำฝน |
|
P |
- |
|||
แหล่งน้ำทางการเกษตร |
ลำดับความสำคัญ |
|
|
การเข้าถึงแหล่งน้ำการเกษตร |
||
|
|
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
ทั่วถึง |
ไม่ทั่วถึง |
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง |
2) แหล่งน้ำธรรมชาติ |
||||||
R 1. แม่น้ำ |
|
|
/ |
|
/ |
60 |
R 2. ห้วย/ลำธาร |
|
|
/ |
|
/ |
60 |
R 3. คลอง |
|
|
/ |
|
/ |
60 |
R 4. หนองน้ำ/บึง |
|
|
/ |
|
/ |
60 |
£ 5. น้ำตก |
|
|
|
|
|
|
£ 6. อื่น ๆ |
|
|
|
|
|
|
3) แหล่งน้ำที่มนุษย์สร้างขึ้น |
||||||
R 1. แก้มลิง |
|
|
/ |
|
/ |
|
R2. อ่างเก็บน้ำ |
|
|
/ |
|
/ |
|
R 3. ฝาย |
|
|
/ |
|
/ |
|
R 4. สระ |
|
|
/ |
|
/ |
2 |
R 5. คลอง |
|
|
/ |
|
/ |
|
£ 6. อื่น ๆ |
|
|
|
|
|
|
ข้อมูลด้านแหล่งน้ำกิน น้ำใช้ (หรือน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค
แหล่งน้ำ |
ไม่มี |
ความเพียงพอ |
ความทั่วถึง |
|||
|
|
เพียงพอ |
ไม่เพียงพอ |
ทั่วถึง |
ไม่ทั่วถึง |
ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึง |
1. บ่อบาดาลสาธารณะ |
|
|
/ |
|
/ |
80 |
2. บ่อน้ำตื้นสาธารณะ |
|
|
/ |
|
/ |
80 |
3. ประปาหมู่บ้าน |
|
|
/ |
|
/ |
80 |
4. อื่น ๆ |
|
|
|
|
|
|
6.2 การประมง
ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำไม่มีพื้นที่ทำการประมง
6.3 การปศุสัตว์
เขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ มีการปศุสัตว์ คือ การเลี้ยงโค และการเลี้ยงสุกร คิดเป็นร้อยละประมาณ 2.5 ของการประกอบอาชีพ
6.4 การบริการ
ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลป่ากอ่ดำ มีผู้ประกอบการชีพบริการ เช่น
ร้านเสริมสวย/ทำผม/ทำเล็บ จำนวน 5 แห่ง
ร้านซ่อมรถ จำนวน 3 แห่ง
ร้านซ่อมรถ จำนวน 6 แห่ง
ห้องเช่า/บ้านเช่า จำนวน 1 แห่ง
โรงน้ำดื่ม จำนวน 1 แห่ง
ร้านตัดเย็บผ้า จำนวน 1 แห่ง
6.5 การท่องเที่ยว
- แหล่งท่องเที่ยวในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำ ได้แก่ ไร่ชาสุวิรุฬ
6.6 อุตสาหกรรม
ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลป่าก่อดำไม่มีโรงงานอุตสาหกรรม
6.7 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ
1.กลุ่มปุ๋ย 3 กลุ่ม หมู่ที่ 1,2,11
2.กลุ่มยุ้งฉาง 2 กลุ่ม หมู่ที่ 1,4
3.กลุ่มเลี้ยงโค 2 กลุ่ม หมู่ที่ 3,5
4.กลุ่มตัดเย็บเสื้อผ้า 1 กลุ่ม หมู่ที่ 1
5.กลุ่มข้าวซ้อมมือ 1 กลุ่ม หมู่ที่ 1,6
6.กลุ่มเลี้ยงสุกร 1 กลุ่ม ระดับตำบล
7.กลุ่มทำขนม 1 กลุ่ม หมู่ที่ 11
8.กลุ่มทำขนมจีน 1 กลุ่ม หมู่ที่ 2
9.กลุ่มทำแคบหมู 1 กลุ่ม หมู่ที่ 11
10.กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ 1 กลุ่ม ระดับตำบล
11.กลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์พืช 1 กลุ่ม ระดับตำบล
12.กลุ่มออมทรัพย์ 11 กลุ่ม
13.กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน 7 กลุ่ม
14.กลุ่มอาชีพ 13 กลุ่ม
15.กลุ่มผู้ใช้น้ำ 1 กลุ่ม
16.กลุ่มผลิตข้าวชุมชน 2 กลุ่ม
17.กลุ่มผู้สูงอายุ 1 กลุ่ม ระดับตำบล
18.สถาบันการจัดการเงินชุมชนบ้านหนองบัว 1 กลุ่ม
19.กลุ่มปุ๋ยชีวภาพปุ๋ยอินทรีย์ 1 กลุ่ม
20.กลุ่มผู้พิการ 1 กลุ่ม ระดับตำบล
21.กลุ่มพัฒนาสตรี 7 กลุ่ม
6.8 แรงงาน
ราษฎรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 60 ประกอบอาชีพทำการเกษตรกรรมได้แก่ทำนา ปลูกข้าว ไร่ยาสูบ ข้าวโพด ทำสวน ที่เหลือประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไปร้อยละ 27 รับราชการรัฐวิสาหกิจ/เอกชน ร้อยละ 4 ธุรกิจส่วนตัว/ค้าขายร้อยละ 9
7. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
7.1 การนับถือศาสนา
ประชาชนในตำบลส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีจำนวนสถาบัน/องค์กรทางศาสนา ดังต่อไปนี้
- วัด จำนวน 5 แห่ง
- สำนักสงฆ์ จำนวน 1 แห่ง
- ศาลเจ้า จำนวน - แห่ง
- มัสยิด จำนวน - แห่ง
- โบสถ์คริสต์ จำนวน 2 แห่ง
- ฌาปนสถาน จำนวน 5 แห่ง
- สุสาน (คริสต์) จำนวน - แห่ง
7.2 งานประเพณีและงานประจำปี
งานประเพณีและงานประจำปีของตำบลป่าก่อดำ ได้แก่
- ประเพณีสงกรานต์รดน้ำดำหัวผู้สูงอายุตำบลป่าก่อดำ
- ประเพณีแห่เทียนพรรษา
- ประเพณีลอยกระทง
- ประเพณีสรงน้ำพระธาตุ ได้แก่
- ประเพณีสรงน้ำพระธาตุรัตนมหามงคลเจดีย์หมู่ที่ 1
- ประเพณีสรงน้ำพระธาตุวัดหมอกมุงเมือง หมู่ที่ 4
- ประเพณีสรงน้ำพระธาตุมณีนาถสันต้นม่วง หมู่ที่ 3
- ประเพณีสรงน้ำพระธาตุวัดไชยสิทธิ์ หมู่ที่ 11
- ประเพณีลงแขกทำนา หมู่ที่ 6
7.3 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่โดดเด่น คือ การทำพิธีสงเคราะห์(สะเดาะเคราะห์) สืบชาตา
ภาษาถิ่น คือ ภาษาล้านนา(คำเมือง)
7.4 สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึกที่โดดเด่น คือ
- สหกรณ์โคนมแม่ลาว เก็บสะสมน้ำนมดิบและจำหน่ายผลิตภัณฑ์นมโค
- กลุ่มข้าวซ้อมมือ หมู่ที่ 1 บ้านโป่งมอญ ผลิตข้าวซ้อมมือจำหน่าย
- กลุ่มข้าวซ้อมมือ หมู่ที่ 6 บ้านสันหนองล้อม ผลิตข้าวซ้อมมือจำหน่าย
- กลุ่มแคบหมู หมู่ที่ 11 บ้านสันหนองบัว ผลิตแคบหมูอาหารพื้นเมืองจำหน่าย
8. ทรัพยากรธรรมชาติ
8.1 น้ำ
แหล่งน้ำธรรมชาติ
แหล่งน้ำธรรมชาติในพื้นที่ มีลำน้ำ ลำห้วย ลำเหมือง และหนองน้ำ ได้แก่ ลำน้ำลาว ลำน้ำแม่มอญ ลำน้ำแม่ผง ลำน้ำแม่ขาว ลำน้ำร่องกาแกด ลำน้ำร่อง ลำน้ำร่องปิน ลำน้ำท่อน้อย ลำห้วยตีนดง ลำเหมืองร่องลึก ลำเหมืองกลาง ลำเ